บทความวิชาการ
มนุษย์กับความขัดแย้ง: โลกทัศน์และชีวทัศน์ในพระพุทธศาสนา
29 ธ.ค. 58 | พระพุทธศาสนา
2120

ผู้แต่ง :: พระมหาหรรษา ธมฺมาหาโส, ผศ.ดร.

มนุษย์กับความขัดแย้ง: โลกทัศน์และชีวทัศน์ในพระพุทธศาสนา

พระมหาหรรษา ธมฺมาหาโส, ผศ.ดร. (2553)

 

มนุษย์กับความขัดแย้ง: โลกทัศน์และชีวทัศน์ในพระพุทธศาสนา
โดย
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส, ผศ.ดร.
ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
+++++++

      เพราะเหตุใดมนุษย์และสังคมจึงต้องขัดแย้งกัน หรือว่าบนฐานของความขัดแย้ง แท้ที่จริงแล้ว เหตุผลที่ต้องขัดแย้งก็เพราะความขัดแย้งเป็นสิ่งจำเป็น (Necessary) หรือเป็นธรรมชาติ (Nature) ของมนุษย์และสังคมนั่นเอง ฉะนั้น มนุษยและสังคมจึงไม่สามารถหลีกหนีความขัดแย้งดังที่ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ ให้ความเห็นว่า “ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ชาติไม่เคยว่างเว้นจากความขัดแย้ง ไม่ว่าจะในระดับบุคคล มนุษย์มิได้ถือกำเนิดมาเหมือนกันแต่เป็นความแตกต่างอันเป็นผลมาแต่พันธุกรรม หรือสภาพแวดล้อมทางสังคม” จากสถานการณ์ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นดังกล่าว ทำให้เกิดการตั้งคำถามว่า สุดท้ายแล้ว ความขัดแย้งเป็นบุญที่ก่อให้เกิดการรังสรรค์สิ่งดีงามให้แก่สังคม หรือว่าเป็นบาปที่สาบมนุษย์และสังคมให้จมอยู่กับปัญหา และความวุ่นวายระหว่างมนุษย์และสังคม

อ่านรายละเอียดในไฟล์แนบ

(ที่มา: พระพุทธศาสนา)