บทความวิชาการ
ปรัชญา
10 ก.พ. 58 | พระพุทธศาสนา
1387

ผู้แต่ง ::

** (2000)

การศึกษาปรัชญานั้น ในนานาอารยประเทศ เขาถือกันว่าเป็นเรื่องสำคัญยิ่ง เพราะประเทศที่ไร้ปรัชญาเป็นหลักเสียแล้ว ก็ย่อมคงความเป็นชาติอยู่ไม่ได้ การที่เราจะเข้าใจซึ่งกันและกันนั้น จำเป็นที่เราจะต้องทราบปรัชญาที่เป็นพื้นฐานชีวิตของเขาเสียก่อน แล้วเราก็จะรู้จักธาติแท้ของเขายิ่งขึ้น เมืองไทยเรามีการศึกษาปรัชญาน้อยมาก วิชาปรัชญาเกือบไม่มีความหมายอะไร แม้ปัญญาชนของชาติจำนวนมากก็ไม่รู้จักคุณค่าของปรัชญา การศึกษาของเราจึงไร้เป้าหมาย เด็กของชาติก็เลยกลายเป็นเครื่องทดลองไปโดยไม่รู้ตัว ถ้าหากเราจะหันมาสนใจวิชาปรัชญาให้มากยิ่งขึ้นแล้วการศึกษาของชาติก็คงจะมีจุดหมายปลายทางที่แน่นอนมากยิ่งขึ้น ความยุ่งยากในทางสังคมจะลดน้อยลง การฉ้อราษฏร์บังหลวงก็คงเบาบางลงเราก็จะได้เยาวชนที่ดีในปัจจุบัน และได้ผู้ปกครองบ้านเมืองที่ดีในอนาคตอย่างแน่นอน ….

  :: ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย

.... บัดนี้ นายอดิศักดิ์ ทองบุญ ได้เรียบเรียงหนังสือปรัชญาอินเดียมอบให้ราชบัณฑิตยสถานจัดพิมพ์เผยแพร่อีกเล่มหนึ่ง ชื่อว่า"ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย" ว่าด้วยปรัชญาของนักปรัชญาอินเดียรุ่นใหม่ ๗ ท่าน คือ สวามี รามกฤษณะ สวามี วิเวกานันทะ รพินทรนาถฐากุร ศรีอรพินโท มหาตมา คานธี ดร.ราธกฤษณัน และกฤษณจันทระ ภัฏฏาจารย์ ซึ่งสำนักธรรมศาสตร์และการเมืองมอบให้นายสุนทร ณ รังสี ราชบัณฑิตประเภทปรัชญา ตรวจพิจารณาแล้วเห็นว่าเป็นหนังสือที่แต่งดีมีเนื้อหาสมบูรณ์ตามหลักสูตรปรัชญาอินเดีย ๒ ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จึงเสนอให้ราชบัญฑิตยสถานจัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการศึกษาวิชาปรัชญาอินเดียให้แพร่หลายยิ่งขึ้น ....

  :: Handbook for Mankind

Summing up, Buddhism is an organized practical system designed to reveal to us the what is what. Once we have seen thing as they really are, we no longer need anyone to teach or guide us. We can carry on practising by ourselves. One progresses along the Ariyan Path just as rapidly as one eliminates the defilements and gives up inappropriate action. Ultimately one will attain to the best thing possible for a human beign, what we call the Fruit of the Path, Nirvana. This one can do by oneself simply by means of coming to know the ultimate sense of the what is what.

(ที่มา: **)