www.weipinxgt.com www.hdf598.com www.rzkfqcg.com www.ywd100.com www.gzunitrade.com www.5aziyuan.com www.alsclean.com www.ynzsgc.com www.sdldtg.com www.i-sarima.com www.aijianbing.com www.xushiweigou.com www.haoyulongsp.com www.binqimotor.com www.kenminamipainting.com www.erli30.com www.cdhg88.com www.horse-home.com www.myjxzp.com www.dgselling.com www.chenlongjiancai.com www.zhongkuanwuliu.com www.huameide-sz.com www.shouxitongban.com www.scgcjx0207.com www.qdshengqian.com www.3w800.com www.kl-ad.com www.imshenghuo.com www.xxanlhw.com www.hfkaibo.com www.wlwservice.com www.jxguanghua.com www.zkld2009.com www.duanem.com www.hzwjzs.com www.chdlav.com www.lyxszl.com www.xinlaihuijiaju.com www.hrwholecare.com www.yingyang168.com www.honeywell-lk.com www.yushusanjiangyuanbao.com www.kangningyiyuan.com www.xzkjsxx.com www.jztushuguan.com www.gksswh.com www.jakjxx.com www.yyxlzw.com www.dwdzxx.com www.shszjzx.com www.skf-nsk-fag-ntn.com www.shanghailvhua.com www.yomandoors.com www.wenchengvote.com www.cn-sportsprotectors.com www.fuyixuantc.com www.jiayongdiant.com www.reshousuoj.com www.wuxitianzhile.com www.lsallx.com www.ravor-system.com www.jhbrq.com www.mirrvoll.com www.likekiwi.com www.hbclzqcj.com www.cqqfbxgm.com www.nmgdwjlw.com www.zmdjtzfw.com www.xunchengchaju.com www.gssx-pxgl.com www.sha-jing.com www.zysjmbj.com www.131701.com www.tlyhyy.com www.hbfbfz.com www.hljpadm.com www.fenxiangzhuan005.com www.jv001.com www.ruiyucnc.com www.zhuochenglaser.com www.zhaoshudeng.com www.facebook-france.com www.yuxianchu.com www.139yes.com www.lazonaentertainment.com www.eastofedens.com www.latelier-gourmet.com www.kaisyomaru.com www.tenglonghb.com www.bdsmfreevids.com www.gzshbzw.com www.ymgb0991.com www.setonohanayome.com www.attachmentmoms.com www.njmzyjg.com www.hi4r.com www.exotic-nails.com www.ef25.com www.lslcxx.com
ข่าวประชาสัมพันธ์
รายงานสรุปผลการไปประชุม The 6th Regional Interfaith Dialogue
30 มี.ค. 55 | ข่าวมหาวิทยาลัย
400
ข่าวมหาวิทยาลัย
รายงานสรุปผลการไปประชุม The 6th Regional Interfaith Dialogue
วันที่ ๓๐/๐๓/๒๐๑๒ เข้าชม : ๖๖๒๖ ครั้ง




รายงานสรุปผลการไปประชุม
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างศาสนาวัฒนธรรมในภูมิภาค ครั้งที่ ๖

The The 6th Regional Interfaith Dialogue (RID-6)
The Semarang Plan of Action

The 6th Regional Interfaith Dialogue (RID-6) was held in Semarang, Central Java, Indonesia during 11-15 March, 2012. The theme of the regional interfaith dialogue is, "To Strengthen Collaborative Community in Creating World Peace and Security." The first plenary session themed, "Building Joint Community: Strengthening Civilian Society in Creating Peace and Preventing Interfaith Conflict in Action," The second session themed, "The Role of Education in Promoting Peace and Security." It is a regular meeting organized by the countries in the Asia Pacific region The first meeting of the regional interfaith dialogue was held in Yogyakarta in 2004, followed by... The second one in Cebu, the Philippines in 2006; The third in Waitangi, New Zealand, in 2007; The fourth in Phnom Penh, Cambodia in 2008; and The fifth in Perth, Australia in 2009.


ประชาสังคม Civil Society

ประชาสังคม เป็นแนวคิดที่มีรากฐานมาจากตะวันตก เป็นส่วนร่วมของสังคมที่ไม่ใช่รัฐ ในขณะเดียวกันก็ไม่ใช่ความเป็นปัจเจกหรือความเป็นส่วนตัว แต่เป็นส่วนของสังคมที่เชื่อมอยู่ระหว่างภาครัฐกับภาคปัจเจกบุคคล เช่น กลุ่ม องค์กร สมาคม มูลนิธิ กลุ่มอาชีพ วัด โรงเรียน สถาบันต่าง ๆ  ที่ซึ่งไม่ได้ถูกครอบงำโดยรัฐ  เมื่อมีการนำแนวคิดประชาสังคมเข้ามาใช้ในบริบทของสังคมไทยซึ่งมีพัฒนาการที่ แตกต่างจากทางตะวันตก (เป็นอย่างมาก) ความหมายและวัตถุประสงค์ จึงแตกต่างไปตามผู้ใช้ เช่น

     1.       พลังประชาชนที่เข้มแข็งทางการเมือง ที่มีอำนาจในการต่อรองกับรัฐ คนกลุ่มนี้ควรจะร่วมกันด้วยจิตสำนึกของความเป็นพลเมือง  ควรแก้ปัญหาร่วมกันอย่างมีอารยะ หรือ การแก้ไขในแบบสังคมที่เจริญแล้ว

     2.       พลังแห่งความสามัคคีและสมานฉันท์ ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบของสังคม การร่วมกันของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพียงเพื่อทุกฝ่ายทำงานร่วมกันด้วยความราบรื่น ในลักษณะหุ้นส่วนซึ่งกันและกัน ถักทอทั้งแนวดิ่ง อันหมายถึง โครงสร้างอำนาจที่เป็น ทางการ และ แนวราบซึ่ง หมายถึงพันธมิตร/เพื่อน/เครือข่ายเข้าหากัน

     3.       พลังชุมชุน จากแนวคิดของ ศ.นพ.ประเวศ วะสี ที่ว่า การทำงานร่วมกันจะต้องประกอบด้วย เบญจภาคีทั้ง 5 นั่นคือ ราชการ เอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน ผู้นำชุมชน และนักวิชาการ เพราะหัวใจสำคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืนต้องมีรากฐานมาจากชุมชนที่เข้มแข็ง ด้วย ดังความหมายของการเป็น "ชุมชน" ในที่นี้ ว่า "การที่ประชาชนจำนวนหนึ่งมี วัตถุประสงค์ร่วมกัน มีอุดมคติร่วมกันหรือมีความเชื่อร่วมกันในบางเรื่อง มีการติดต่อสื่อสารกัน หรือมีการรวมกลุ่มกัน มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีความรัก มีมิตรภาพ มีการเรียนรู้ร่วมกันในการ ปฏิบัติบางสิ่งบางอย่างและมีระบบการจัดการในระดับกลุ่ม" (ประเวศ วะสี 2539)

อ้างอิงข้อมูลมาจาก...http://www.oknation.net

***************************

ประชานิยม(populist)และประชาสังคม(Civil Society )

ปีดิเทพ อยู่ยืนยง ได้ให้ทัศนะค่านิยมทั้งสองไว้ว่า...

ในปัจจุบันได้มีหลายกระแสหลายกลุ่มวิพากษ์วิจารณ์ ถึงแนวความคิดต่างขั้วระหว่างนโยบายประชานิยม และประชาสังคม ซึ่งแนวความคิดดังกล่าวทำให้เกิ
ดการแบ่งแยกขั้วการเมืองได้2ขั้วใหญ่ๆในขณะได้แก่ ?พรรคไทยรักไทย? ซึ่งชูนโยบายประชานิยม กับ? พรรคประชาธิปัตย์?ได้ชูนโยบายประชาสังคม ซึ่งทำให้เกิดแนวการแข่งขันหรือขั้วทางความคิดในการทำงานทางการเมืองได้อย่างชัดเจ

เมื่อมีหลายเสียงวิพากษ์วิจารณ์เช่นนี้ จึงจำเป็นต้องศึกษาถึงแนวนโยบายว่าแต่ละแนวทางมีข้อดี หรือข้อเสียวอย่างไรบ้าง

ประชานิยม(populist) หรืออาจตีความหมายได้อย่างง่ายๆว่าเป็นการบริหารงานโดยเน้นถึงความนิยมของประชาชนต่อนโยบายเป็นสำคัญ กล่าวอย่างชาวบ้านก็คือ เพื่อสนองความต้องการของประชาชนนั้นเอง
โดยแนวนโยบายประชานิยม แม้จะเป็นการทำให้ประชาชนพอใจอย่างนโยบายของรัฐบาล เช่น ตั้งแต่กองทุนหมู่บ้าน โครงการสามสิบบาทรักษาทุกโรค บ้านเอื้ออาทร หรือล่าสุดคือ คอมพิวเตอร์เอื้ออาทร และอาจจะมีโครงการโทรศัพท์มือถือเอื้ออาทร ฯลฯ ซึ่งเป็นการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในช่วงเวลานั้นๆ โดยอาจจะขับเคลื่อนนโยบายโดยบุคคลกลุ่มเดียว หรือหลายกลุ่มเพื่อสร้างความพอใจให้ประชาชนก็ได้

หากแต่ถ้าพิจารณาออกไปในมุมกว้าง หากการตอบสนองดังกล่าวอาจเป็นผลดีในระยะสั้น หากแต่ในระยะยาวแล้ว อาจจะก่อให้เกิดปัญหาต่างๆตามมา เช่น ปัญหาเศรษฐกิจ เนื่องจากการใช้งบประมาณมากเกินความจำเป็นโดยเน้นแต่ความพอใจของประชาชนแต่อย่างเดียว ดังเช่นกรณีเหตุการณ์ในประเทศอาเจติน่า

ส่วนนโยบายประชาสังคม(Civil Society )ซึ่งมีความหมายพอเข้าใจได้ว่า เป็นการรวมกลุ่มของประชาชนเพื่อแก้ปัญหาของสังคม โดยมีจิตสำนึกร่วมกันเพื่อให้ปัญหาสังคมหมดไป โดยแนวทางนโยบายนี้จะเน้นถึงการแก้ปัญหาของประชาชนเพื่อมวลรวมของสังคมเป็นใหญ่ โดยไม่สนใจว่าจะสร้างความพอใจหรือไม่ก็ตามแต่มุ่งเน้นถึงประโยชน์ระยะยาวของชาติและประชาชนเป็นสำคัญ เพราะวิธีการแก้ปัญหาบางอย่างอาจจะสร้างความไม่พอใจให้แก่ประชาชนก็ได้ แต่แนวนโยบายนี้ก็เน้น ถึงการขับเคลื่อนของประชาชนมวลรวมในการมีส่วนร่วมในการเข้ามาแก้ปัญหา ไม่ใช่ให้เพียงกลุ่มใดเข้ามาแก้ไขเพียงกลุ่มเดียว

โดยการบริหารงานของรัฐบาลปัจจุบันมีแนวความคิดในหลัก ?ประชานิยม ? ซึ่งแม้หากสามารถตอบสนองประชาชนหมู่มากได้ แต่อาจจะทำให้เกิดปัญหาระยะยาว เช่น ปัญหาเศรษฐกิจแล้ว จึงควรระมัดระวังและควบคุมการใช่แนวนโยบายดังกล่าว เพื่อไม่ให้ก่อให้เกิดผลเสียในระยะยาว ทั้งนี้หาใช่เพื่อประโยชน์ของตัวรัฐบาลเองไม่ แต่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนกับความมั่นคงของประเทศ โดยประชาชนจะเป็นผู้ตัดสิงเองว่า นโยบายไหนดีหรือไม่ หรือเป็นแค่เพียง"กลุ่มผลประโยชน์" ( INTEREST GROUP ) ซึ่งนำนโยบายประชานิยม ซึ่งสอนให้เน้นวัตถุนิยมจนขาดเรื่อง"คุณธรรมของพลเมือง" ( CIVIL VIRTUE ) ซึ่งน่าจับตามองในทิศทางอนาคตของประเทศไทยต่อไป โดยแท้จริงแล้วประชานิยม เหมาะสมกันประชาชนและสภาพการณ์ของประเทศไทยหรือไม่









แหล่งข่าว : คณะพุทธศาสตร์
Print This Page    Sent to Friend
แสดงความคิดเห็น

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

  • มจร จัดพิธีถวายพระพรชัยมงคล และเจริญพระพุทธมนต์ เฉลิมพระเกียรติพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๗
    26 ก.ค. 67 | ข่าวมหาวิทยาลัย
    113
  • ขอขอบคุณ ดร.สุวรา นาคยศ อาจารย์ประจำภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มอบเงินจำนวน 500,000 บาท สนับสนุนโครงการส่งเสริมสุขภาพฯ
    25 ก.ค. 67 | ข่าวมหาวิทยาลัย
    364
  • ขอเชิญลงทะเบียนเข้าร่วมพิธีถวายพระพรชัยมงคลและพิธีเจริญพระพุทธมนต์เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๗
    23 ก.ค. 67 | ข่าวมหาวิทยาลัย
    406
  • การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก สมศ. รอบสี่ ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    19 ก.ค. 67 | ข่าวมหาวิทยาลัย
    131
  • องคมนตรี เชิญหิรัญบัฏ พัดยศ ผ้าไตร และเครื่องยศสมณศักดิ์ ถวายแด่ พระพรหมวัชรธีราจารย์ (สมจินต์ สมฺมาปญฺโญ ป.ธ.๙,ศ.ดร.) วัดปากน้ำ พระอารามหลวง
    18 ก.ค. 67 | ข่าวมหาวิทยาลัย
    148